ยินดีต้อนรับ
คณะกรรมการประเมิน วPA
นายธนพัฒน์ มุขโต
ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี
ประวัติผู้ประเมิน
ชื่อ-นามสกุล นายธนพัฒน์ มุขโต
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียน กาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
รายวิชาที่สอน ฟิสิกส์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ครูที่ปรึกษานักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
หน้าหลัก
งานพิเศษที่ได้รับมอบหมาย
ฝ่ายอำนวยการ
ผู้ช่วยรองผู้อำนวยการฝ่ายอำนวยการ
หัวหน้างานบุคลากร
กรรมการงานคณะกรรมการสถานศึกษาฯ
กรรการงานสารบรรณ
ฝ่ายวิชาการ
กรรมการงานห้องเรียนพิเศษ แก้วกาญจนาและเพชรการญจนา
รองหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หัวหน้างานผลิตสื่อและเอกสาร
ฝ่ายกิจการนักเรียน
กรรมการงานตรวจทรงผมและเครื่องแบบนักเรียน
กรรมการงานเวรประจำวันจันทร์
หน้าหลัก
1.1
1.2
1.3
1.4
1.5
1.6
1.7
1.8
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้
1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้
1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน
1. ด้านการจัดการเรียนรู้
หน้าหลัก
3.1
3.2
3.3
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
3.3 การนำความรู้มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาวิชาชีพ
หน้าหลัก
กลับสู่ด้านที่ ๓
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
หน้าหลัก
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกหัดรวมโจทย์เสริมทักษะ
เรื่องการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2565
กลับสู่ด้านที่ ๓
หน้าหลัก
สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
เนื่องจากการนักเรียนมีปัญหาจากการนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ทำโจทย์ และสับสนในการเรียนมากพอสมควร ด้วยเหตุผลนี้ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดยการสร้างแบบฝึกหัดรวมโจทย์เสริมทักษะ เรื่องการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
กลับสู่ด้านที่ ๓
หน้าหลัก
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 ในเรื่องของสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม และผลการเรียนรู้
2.2 จัดทำโครงร่างของเนื้อหาแบบฝึกหัดรวมโจทย์เสริมทักษะ เรื่องการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
2.3 ให้คุณครูผู้สอนในวิชาฟิสิกส์ ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทั้งเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง แก้ไข
กลับสู่ด้านที่ ๓
หน้าหลัก
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
2.4 ครูผู้สอนนำแบบฝึกหัดรวมโจทย์เสริมทักษะ มาปรับปรุง แก้ไขตามคำแนะนำของคณะครูผู้สอนในวิชาฟิสิกส์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุพรรณบุรี
2.5 นำแบบฝึกหัดรวมโจทย์เสริมทักษะ เรื่องการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ไปทดลองใช้กับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 และให้ผู้เรียนเสนอแนะข้อคิดเห็น เพื่อปรับปรุง แก้ไข หรือผู้เรียนมีความสับสนในข้อความใด ให้ดำเนินการปรับภาษาให้เข้าใจง่ายขึ้น
กลับสู่ด้านที่ ๓
หน้าหลัก
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
2.6 นำแบบฝึกหัดรวมโจทย์เสริมทักษะ ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ทั้งในรูปแบบ ONLINE หรือ ONSITE โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบท
2.7 บันทึกผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู้ ในโปรแกรม Microsoft Excel , Google Sheet และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบเป็นระยะ หากมีผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเรื่องใด ให้ใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และการสอนซ่อมเสริมด้วยคลิปวีดีทัศน์ที่ครูจัดทำขึ้น สำหรับใช้แก้ไขปัญหาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษา และทำการทดสอบใหม่ จนผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
กลับสู่ด้านที่ ๓
หน้าหลัก
ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
3.1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
3.1.1 เชิงปริมาณ
1) นักเรียนร้อยละ 70 มีผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด
3.1.2 เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีทักษะการคิดแก้ปัญหาโจทย์วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม
กลับสู่ด้านที่ ๓
หน้าหลัก
ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
3.2.1 เชิงปริมาณ
1) นักเรียนร้อยละ 70 มีคะแนนแบบทดสอบเรื่อง การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
3.2.2 เชิงคุณภาพ
1) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน
กลับสู่ด้านที่ ๓
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย
ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
หน้าหลัก
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ในรูปแบบ Active Learning ที่มุ่งเน้นกระบวนการ 3R8C
สำหรับครูวิทยาศาสตร์ ณ หอประชุม 2
ศูนย์พัฒนาวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย จังหวัดสุพรรณบุรีร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
ในวันที่ 3 กันยายน 2565
ย้อนกลับ
ภาพกิจกรรม ๑/๒๕๖๕
หน้าหลัก